พุธ, กันยายน ๑๘, ๒๕๖๗
เราเปิดสอนคอร์สนี้มานานนับ 10ปี - อ.ปั้น
คอร์สสอน เด็ก-นักเรียน-นักศึกษา ที่มี ดื้อ-ต่อต้าน-ไม่เชื่อฟัง
เพื่อแก้ปัญหาต่างๆของเด็กเหล่านี้ ทำให้เด็กเหล่านี้มีพฤติกรรม/นิสัย/จิตใจ ที่ดีขึ้น
(ถ้าเรียนไม่ได้ผล· เราพร้อมคืนเงิน ภายใน 1 เดือน)
การที่ลูก ดื้อ-ต่อต้าน-ไม่เชื่อฟัง มักทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น
1.มีปัญหาการเรียน
เช่น เด็กดื้อมักถูกปฏิเสธ รังเกียจและไม่เป็นที่ชื่นชอบของเพื่อน มักจะ
ไม่มีเพื่อนสนิทที่คบกันนาน ๆ ขาดทักษะทางสังคมในการติดต่อกับเพื่อนและผู้ใหญ่ มีพฤติกรรม ต่อต้านสังคม
3.มีปัญหาการปรับตัว เข้ากับคนอื่นๆได้ยาก
4.มักมีอาการสมาธิสั้น ร่วมด้วย
5.มีปัญหาอื่นๆ ตามมา เช่น ซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ มีพฤติกรรมบุคลิกที่ไม่ดี
วิธีการสอน
เราใช้วิธีการสอน-เทคนิคจิตวิทยา-การปรับพฤติกรรม แบบเฉพาะของ สถาบัน
กลุ่มอาการ เด็ก-นักเรียน-นักศึกษา ที่เรารับสอน· เช่น
- ·····- ดื้อ ต่อต้าน ไม่เชื่อฟัง เป็นประจำ
- ·····- หงุดหงิดบ่อย ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ เถียงและทะเลาะกับผู้ใหญ่บ่อย ๆ
- ·····- ดื้อดึง ท้าทาย และฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ใหญ่และกฎเกณฑ์บ่อย ๆ
- ·····- ชอบทำให้คนอื่นรำคาญ ชอบแกล้งผู้อื่น
- ·····- โกรธและไม่พอใจบ่อย ๆ
- ·····- ชอบมีปัญหากับคนรอบข้าง โดยเฉพาะผู้ใหญ่
- - มีปัญหาในการเรียน
- - ทำตัวเป็นปรปักษ์กับผู้ใหญ่
คอร์สมีทั้งหมด 3 คอร์ส คือ
1.สำหรับเด็กอนุบาล-ประถม
2.สำหรับเด็กมัธยมต้น-ปลาย
3.สำหรับ นักศึกษาและผู้ใหญ่
เรียนครั้งละ 2 ชม.
ค่าเรียน 3000 บาท/เดือน
ในกรณ๊มีปัญหาระดับน้อย ใช้เวลา 3 - 4 เดือน
ในกรณ๊มีปัญหาระดับปานกลาง ใช้เวลา 4 - 5 เดือน
ในกรณ๊มีปัญหาระดับมาก ใช้เวลา 5 - 6 เดือน
ถ้าอยู่ไกลมากๆ ต่างจังหวัด ท่านสามารถเรียนออนไลน์ได้
โทรสอบถาม เรื่องเรียน - คอร์สต่างๆ · 089-1690911 ·หรือ · 083-094-9242 , 082-4293576
หรือ ส่งมาที่ ·LINE ID : @znh9554d (อย่าลืมใส่ @ ด้วยค่ะ)
Face Book : อ.ปั้น พุทธะ
เงื่อนไขการรับประกัน - การมาเรียนต่อเนื่อง ทำตามแนวทางการสอน ·แล้วไม่เห็นผลชัดเจน · เรายินดีคืนเงิน ภายใน 1 เดือน
///////////////////////////////////////////
ผลสำรวจของกรมสุขภาพจิต ในกลุ่มเด็กอายุ 13-17 ปี ครั้งล่าสุดปี 2559 พบเด็กป่วยเป็นโรคดื้อต่อต้าน ร้อยละ 2 หรือมีประมาณ 80,000 คนทั่วประเทศ ในเด็กชายพบร้อยละ 2.3 ส่วนเด็กหญิง พบร้อยละ 1.7 ซึ่งโรคนี้เกิดมาจากหลายสาเหตุ ร่วมกันทั้งตัวเด็กเอง ที่มีพื้นฐานเป็นเด็กอารมณ์ร้อน และสภาพแวดล้อม เช่น ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่ดี ใช้ความรุนแรง การตั้งกฎระเบียบที่ไม่สม่ำเสมอของพ่อแม่ที่น่าเป็นห่วงพบว่ายังมีพ่อแม่มีความเชื่อผิดๆ คิดว่าเด็กดื้อตามปกติ จึงไม่ได้พาไปรักษา โดยให้การดูแลตามความเชื่อ คือ 1.ปล่อยไปตามธรรมชาติ เด็กน่าจะดีขึ้นเอง 2. ไม่ขัดใจลูก เพราะกลัวลูกจะเครียด กลัวลูกออกจากบ้าน 3.ลงโทษรุนแรงเพื่อดัดนิสัย 4.ส่งไปอยู่กับญาติ หรือส่งไปอยู่โรงเรียนประจำ เพื่อดัดนิสัย ซึ่งความเชื่อทั้งหมดนี้ ไม่ได้ช่วยให้พฤติกรรมของเด็กดีขึ้น แต่ล้วนทำให้พฤติกรรมดื้อต่อต้านแย่ลงไปอีก
"การลงโทษที่ไม่ควรใช้กับเด็กที่มีพฤติกรรมดื้อต่อต้าน คือการลงโทษด้วยการทุบตีอย่างรุนแรงหรือด่าว่าด้วยถ้อยคำที่หยาบคาย รุนแรง เนื่องจากเป็นการเพิ่มความก้าวร้าวให้เด็ก ทำให้เด็กมีพฤติกรรมต่อต้านเพิ่มมากขึ้น และหากเด็กเหล่านี้ไม่ได้รับการรักษา เมื่อโตขึ้นเด็กจะมีพฤติกรรมใช้ความรุนแรงมากขึ้น ก้าวร้าว เกเร เสี่ยงต่อการเสพและติดสารเสพติดได้ง่าย " พญ.กุสุมาวดี ระบุ
CR : bangkokbiznews
//////////////////////////////////////////////////////////////
โรคดื้อและต่อต้าน
โรคดื้อและต่อต้านนั้นมักแสดงให้เห็นในเด็กอายุ 8 ปี แต่ก็อาจพบในเด็กอายุมากกว่านั้น แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะพบก่อนเข้าสู่วัยรุ่น เมื่อเด็กมีภาวะดื้อและต่อต้าน จะมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนที่ค่อยๆ เกิดขึ้น และอาจแสดงออกรุนแรงมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปเป็นเดือนหรือปี เด็กอาจเป็นโรคดื้อและต่อต้านหากมีอารมณ์ไม่ดีตลอดเวลาเป็นระยะเวลาต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือนจนนำไปสู่ปัญหาภายในครอบครัวหรือที่โรงเรียน ซึ่งเด็กที่เป็นโรคดื้อและต่อต้านจะมีอาการหลักๆ ดังนี้เป็นประจำ
1. ควบคุมอารมณ์ไม่ได้บ่อย ๆ
2. เถียงและทะเลาะกับผู้ใหญ่บ่อย ๆ
3. ดื้อดึง ท้าทาย และฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ใหญ่และกฎเกณฑ์บ่อย ๆ
4. ตั้งใจทำให้คนอื่นรำคาญ
5. โยนความผิดให้คนอื่นบ่อย ๆ
6. หงุดหงิดง่าย อารมณ์เสียและโกรธง่ายบ่อย ๆ
7. โกรธและไม่พอใจบ่อย ๆ
8. เจ้าคิดเจ้าแค้น แกล้งและแก้แค้นอาฆาตพยาบาทบ่อย ๆ
9.มีปัญหาในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น
10.ทำตัวเป็นปรปักษ์กับผู้ใหญ่
11.มีปัญหาในการเรียน
12.ดื้อ ต่อต้าน ไม่เชื่อฟัง
เด็กที่เป็นโรคดื้อและต่อต้านนี้บ่อยครั้งอาจมีปัญหาทางจิตและพฤติกรรมร่วมด้วย อาทิเช่น โรคสมาธิสั้น (Attention deficit/hyperactivity disorder) วิตกกังวล (Anxiety) ซึมเศร้า (Depression) เป็นต้น
CR : taamkru
Copyright © 2010-2011 ThemeXpert.com All right reserved.
Top